1 |
- ภาพรวมของรายวิชา (Course Overview)
ประวัติของการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ
บทนำสู่คลาสและออบเจกต์
|
|
The Python Language Reference
การติดตั้ง
|
2 |
- แอททริบิวต์และเมธอด (Attributes and Methods)
ความแตกต่างระหว่างการเขียนโปรแกรมเชิงขั้นตอนและเชิงวัตถุ
|
|
|
3 |
- การห่อหุ้มข้อมูล (Encapsulation)
การซ่อนข้อมูล
การกำหนดสิทธิ์การเข้าถึง (สาธารณะ ส่วนตัว ป้องกัน)
|
|
|
4 |
- การสืบทอด (Inheritance)
ประเภทของการสืบทอดแบบ Single
ประเภทของการสืบทอดแบบ Multiple
ประเภทของการสืบทอดแบบ Hierarchical
|
ประยุกตใช้การสืบทอดแบบ Single
ประยุกต์ใช้การสืบทอดแบบ Multiple, Mixins
ประยุกต์ใช้การสืบทอดแบบ Hierarchical
|
|
5 |
- โพลีมอร์ฟิซึม (Polymorphism)
การทำงานร่วมกันของเมธอดแบบ Overloading
การทำงานร่วมกันของเมธอดแบบ Overriding
|
|
|
6 |
- นามธรรมและอินเทอร์เฟซ (Abstraction and Interface)
คลาสนามธรรม
อินเทอร์เฟซ
|
|
|
7 |
- คอมโพสซิชัน (Composition)
ความสัมพันธ์แบบ Association
ความสัมพันธ์แบบ Aggregation
ความสัมพันธ์แบบ Composition
|
ประยุกต์ใช้หลักการ Composition และ Inheritance
อธิบายข้อแตกต่างระหว่าง Composition และ Inheritance
|
|
8 |
- บทนำสู่ UML (Unified Modeling Language)
Class Diagram
Sequence Diagram
|
|
UML Introduction |
9 |
- ทบทวนเนื้อหา OOP และ UML เพื่อการพัฒนาโปรเจกต์
-
|
|
|
10 |
- บทนำสู่ Design Patterns ในโปรแกรมเชิงวัตถุ
Design Patterns
SOLID Principles
|
|
|
11,12,13 |
- พัฒนาโปรเจกต์และประยุกต์ใช้แนวคิดเชิงวัตถุ
Object-Oriented Application Frameworks
pygame note / pygame
pyside6 note / pyside6
machine learning note / scikitlearn iris svc plot
fastapi
AI (transformer models)
|
เข้าใจหลักการพัฒนาชุดคำสั่งเสริมที่ใช้แนวคิดเชิงวัตถุ
อธิบายหลักการใช้งานชุดคำสั่งเสริมที่ใช้แนวคิดเชิงวัตถุเพื่อนำมาแก้ปัญหาโจทย์ที่กำหนดให้ได้
|
|
14 |
เตรียมการนำเสนอโปรเจกต์ และสรุปความรู้ OOP ที่ได้เรียนรู้ |
เตรียมการนำเสนอและสรุปผลการเรียนรู้ในโปรเจกต์ |
Project Preparation |
15 |
การนำเสนอโปรเจกต์และตอบข้อซักถาม สรุปผลการเรียนรู้ทั้งหมด |
สามารถนำเสนอให้เข้าใจโครงงานได้ง่าย สื่อสารโดยใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม ตอบคำถามด้วยความเข้าใจและมีหลักการ
|
Final Presentation |